ดร.วิญญู ปรอยกระโทก
ที่อยู่ (ที่ทำงาน) : อาคาร 4 ชั้น 9 |
E-mail : winyu_p@rmutt.ac.th |
เบอร์ติดต่อ : 025493269 |
วุฒิการศึกษา : Ph.D. (Logistics) |
ดร.วิญญู ปรอยกระโทก
Winyu Proykratok (Ph.D.)
E-Mail: winyu_p@rmutt.ac.th, ake_interlogistics@hotmail.com
ระดับการศึกษา
ปรัญชาดุษฎีบัณฑิต (โลจิสติกส์) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปี พ.ศ. 2560
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการโลจิสติกส์) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปี พ.ศ. 2552
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ปี พ.ศ. 2548
วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เศรษฐศาสตร์เกษตร)มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี พ.ศ. 2544
อื่นๆ
ใบประกาศนียบัตร หลักสูตรการพัฒนาที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานระดับทั่วไป (Supply Chain Logistics Consultant : SCLC) 2554 โดยสำนักโลจิสติกส์ กรมโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม
ประสบการณ์ทำงาน
- ก.ย. 61 – ปัจจุบัน
อาจารย์ประจำหลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน สาขาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี - มิ.ย. 54 – ส.ค. 61
อาจารย์ประจำ/หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบขนส่ง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ - ธ.ค. 52 – มิ.ย. 54
อาจารย์ประจำสาขาวิชาบริหารธุรกิจญี่ปุ่น คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น - มิ.ย. 48 – ธ.ค. 52
หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย - ธ.ค. 47 – มิ.ย. 48
อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น - มิ.ย. 44 – ธ.ค. 47
พนักงานการตลาดภายในประเทศและส่งออก บริษัท ไทยธุรกิจเกษตร จำกัด
งานวิจัย
งานตีพิมพ์ และงานประชุมวิชาการทั้งระดับชาติและนานาชาติ
[1].
ธันยพร
พงศ์พิชญ์พิทักษ์ ศศินา ทองยศ ศิริพรรณ กลิ่นปรากฏ ไกรเดช มณีพิมพ์และวิญญู
ปรอยกระโทก (2564).
การศึกษารูปแบบการจัดเส้นทางการขนส่งน้ำดื่มตราราชมงคลที่เหมาะสม
กรณีศึกษา บริษัท ทรัพย์ก่อเกิด จำกัด
.
การประชุมวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับชาติ ครั้งที่ 4 (น.
598-609).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
[2].
จิราภรณ์
ไชยวิเศษสกุล และวิญญู ปรอยกระโทก (
2563).
การศึกษาคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานขับรถขนส่ง กรณีศึกษา บริษัท
วิศวกิจ พัฒนา จํากัด
, ในรายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 58 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่างวันที่
5-7 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า
23-34.
[3].
กัมปนาท
ราชแขวง และวิญญู ปรอยกระโทก (2563).
การลดระยะเวลาในการค้นหาตำแหน่งสินค้าที่ไม่ได้อยู่บนชั้นวาง
กรณีศึกษา บริษัท เอ็ม.เอส. เฟิร์ส เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด
, ในรายงานการประชุมวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ระดับชาติ ครั้งที่
3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 22 พฤษภาคม 2563, หน้า 501- 509.
[4].
พัชรินทร์
ออมทรัพย์ และวิญญู ปรอยกระโทก
(2563). การจัดการความเสี่ยงด้านสภาวะทางอารมณ์
และสังคมของพนักงาน ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานโดยใช้ระบบการจัดการด้านจรรยาบรรณ
แห่งพันธมิตรธุรกิจ และมาตรฐานจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย
ISO45001:2018 กรณีศึกษา บริษัท อัลเลโกร ไมโครซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด, ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ RMUTT Global Business and
Economics Conference
2020 วันที่ 29 พฤษภาคม 2563, หน้า 126 – 143.
[5].
สุทธินันท์
ชัยพฤกษ์ และวิญญู ปรอยกระโทก
(2563). การปรับปรุงการลดต้นทุนการจัดเก็บสินค้าคงคลัง
กรณีศึกษา บริษัท ฟูจิคุระ อิเล็กทรอนิกส์ จำกัด
, ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ
RMUTT Global Business and Economics
Conference
2020 วันที่ 29 พฤษภาคม 2563, หน้า 145 – 164.
[6].
เจนรตชา
แสงจันทร์ และ วิญญู ปรอยกระโทก (2563).
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าโดยประยุกต์ใช้วิธีการ
วิเคราะห์จัดแบ่งวัสดุตามความถี่ของการหยิบสินค้า กรณีศึกษา บริษัทแห่งหนึ่ง
ในกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์
, ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ
RMUTT Global Business and Economics Conference 2020 วันที่ 29 พฤษภาคม 2563, หน้า 165 – 176.
[7].
อารีรัตน์
นวลน้อย และวิญญู ปรอยกระโทก (2563).
ปัจจัยที่ส่งผลต่อต้นทุนโลจิสติกส์เพื่อการส่งออกทุเรียนพันธุ์หมอนทองในเขตจังหวัดชุมพร,
ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ
RMUTT
Global Business and Economics Conference
2020 วันที่ 29 พฤษภาคม
2563, หน้า 675-688.
[8].
จิราพัชร
ทองประสม
และวิญญู ปรอยกระโทก (2562). การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกกล้วยหอมทอง
กรณีศึกษา สวนกล้วยกาญจนา จังหวัดปทุมธานี
, ในรายงานการประชุมวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ระดับชาติ
ครั้งที่
2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 4 มิถุนายน
2562, หน้า
120-131.
[9].
บุณฑริก
หอมเขียว และวิญญู ปรอยกระโทก (2562).
การปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดระยะเวลาในการตรวจสอบตำแหน่งสินค้า
(
Location): กรณีศึกษา บริษัท
เค.อาร์.เอส. สไปร์ซี่ฟู้ดส์ จำกัด
ในรายงานการประชุมวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ระดับชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 4 มิถุนายน 2562
, หน้า 132-137.
[10].
W. Proykratok,
W
. Rattanawong, W.
Chandraprakaikul (2018). Development
of vegetable supply chain sustainability model in Thailand
, Journal of Fundamental and Applied Sciences, Volume 10, Number 6S, 7 March 2018.
[11].
Winyu Proykratok, Wanchai Rattanawong, Watcharavee Chandraprakaikul (2015). Optimization Transportation
Model Which Is Suitable of Agricultural Products in Thailand Case Study of
Hygienic Agricultural Products
, Proceedings of Academics World 5th
International Conference, Paris, France, 11th October 2015
.
[12].
วิญญู ปรอยกระโทก (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของโซ่อุปทานผักในประเทศไทย,
ในรายงานประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ
ครั้งที่
7 ประจำปี 2561, วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
, Proceeding หน้า 412–417.
[13].
ภารดี นึกชอบ, กุลบัณฑิต แสงดี, วิญญู ปรอยกระโทก, เฉลียว บุตรวงษ์, ดวงมณี ชักนำ, ศิริพร จิระชัยประสิทธิ, โกสินทร์ แสงสวงค์ (2560). การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและต้นทุนโลจิสติกส์ของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักหวานป่า
ที่ได้รับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช จังหวัดสระบุรี
, วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่
12 ฉบับที่ 3 เลขหน้า 249–262, ปี พ.ศ. 2560.
[14].
วิญญู ปรอยกระโทก, สรวิศ ธีรประเสริฐ และวิชญุตร์
ทิมาบุตร (2
560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ให้บริการการขนส่งสําหรับสินค้าประเภทไวน์,
ในรายงานประชุมวิชาการผลงานวิจัยด้านการจัดการธุรกิจ ครั้งที่
10 คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 24 พฤศจิกายน 2560.
[15].
วิญญู ปรอยกระโทก, ศิริลักษณ์ คำตะ (2560). การบริหารจัดการความเสี่ยงในแผนกจัดซื้อตามกระบวนการบริหาร
ความเสี่ยง
COSO–ERM กรณีศึกษา
ผู้ผลิตยางรถยนต์แห่งหนึ่ง
.
ในรายงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่
6 วิทยาการจัดการ 2017
การวิจัยยุคประเทศไทย 4.0 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 27 มกราคม
2560.
[16].
วิญญู ปรอยกระโทก, วันชัย รัตนวงษ์ และ วัชรวี
จันทรประกายกุล (201
6). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในโซ่อุปทานผักปลอดภัยในประเทศไทย,
วารสาร Thai VCML, Volume: 9 No.2, Published: 2016.
[17].
วิญญู ปรอยกระโทก และ ภารดี สุวัฒนากุลดี (2559). การวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์
โดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมกรณีศึกษา ผู้ผลิตกาแฟสดเเห่งหนึ่ง
.
ในรายงานประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านการบริหารจัดการ ครั้งที่
8 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2 กรกฎาคม
2559.
[18].
วิญญู ปรอยกระโทก และ ธีร์จุฑา พะตัน (2559). การจัดเส้นทางการขนส่งของผู้ประกอบการขนส่งภายนอก
โดยประยุกต์ใช้อัลกอริทึมแบบประหยัด กรณีศึกษา บริษัท
XYZ จำกัด.
ในรายงานการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ครั้งที่
16, วันที่ 25 สิงหาคม 2559.
[19].
วิญญู ปรอยกระโทก และ ธนาคาร เจริญชอบ (2559). การจัดการความเสี่ยงในโซ่อุปทานของธุรกิจผักไฮโดรโปนิกส์
ในกรุงเทพมหานคร
กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรขนาดเล็ก. ในรายงานการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ครั้งที่ 16
, วันที่ 25 สิงหาคม 2559.
[20].
กุลบัณฑิต แสงดี, วิญญู ปรอยกระโทก,
สุภาวดี สายสนิท, เฉลียว บุตรวงษ์, รัฐยา พรหมหิตาทร (2
558). แนวทางการลดต้นทุนโลจิสติกส์ในการผลิตหัวมันสำปะหลังสด
กรณีศึกษาชุมชนบ้านหนองกก ตำบลทัพราช อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว
,
วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เลขหน้า 213-225, ปี พ.ศ. 2558.
[21].
วิญญู ปรอยกระโทก (2554). การวัดระดับการให้บริการของผู้ให้บริการการขนส่ง
(
Logistics Service Providers : LSPs). วารสาร TPA
News No 174, June 2011.
ผู้ทรงคุณวุฒิพัฒนา/ยกร่าง/วิพากษ์หลักสูตร
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2564
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการโลจิสติกส์ (ต่อเนื่อง) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก
เมื่อวันที่ 11 ส.ค. 2564
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
เมื่อวันที่
21 มิ.ย. 2564
·
ผู้ทรงคุณวุฒิพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
เมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2564
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ดิจิทัล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ
เมื่อวันที่
25 ก.พ. 2564
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาบริหารธุรกิจโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบินวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
วิทยาเขตบางนา เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2563
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2562
·
ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (ต่อเนื่อง) วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี เมื่อวันที่
24 ม.ค. 2562
·
ผู้ทรงคุณวุฒิยกร่างหลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยีสังคม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
เมื่อวันที่ 22 ม.ค. 2559
ผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
·
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก สอบนำเสนอสารนิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เมื่อวันที่
1 พ.ค. 2564
·
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก สอบนำเสนอสารนิพนธ์
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2564
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความประจำวารสารทางวิชาการ
·
วารสารวิชาการ RMUTT Global
Business and Economics Review
คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
·
วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ (Journal of
Management and Marketing)
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
·
วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (Journal of
Logistics and Supply Chain College)
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
·
วารสารพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (Journal of
Business and Industrial Development)
คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
·
วารสารนวัตกรรมและการจัดการ (Journal of
Innovation and Management)
วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
วิทยากรให้คำปรึกษา
·
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการผู้ให้บริการโลจิสติกส์
โดยกองโลจิสติกส์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสหกรรม
·
โครงการส่งเสริมระบบบริหารจัดการพลังงานในภาคขนส่ง
Logistics
and Transport Management, LTM
สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
·
โครงการพัฒนาสู่สุดยอดเอสเอ็มอีจังหวัด (SME Provincial
Champions)
ในการก้าวสู่ Thailand 4.0 สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
·
โครงการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์
ประจําปี 2560 ร่วมกับ สํานักธุรกิจบริการและโลจิสติกส์การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
กระทรวงพาณิชย์
·
โครงการปรับแผนธุรกิจ SMEs กรมส่งเสริมอุตสหากรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
·
โครงการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์
ประจําปี 2558 ร่วมกับ สํานักธุรกิจบริการและโลจิสติกส์การค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
กระทรวงพาณิชย์
วิทยากรบรรยายพิเศษ
·
หัวข้อ “การออกแบบบรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์ (Logistics
packaging design)
” จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
·
หัวข้อ “โลกของคนโลจิสติกส์
มุมมองของคนต้นน้ำ” จัดโดย สมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต (
TLAPS)
·
หัวข้อ “แนวโน้มโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ปี 2021” จัดโดย เพจแวร์เฮ้าสตอรี่ เปลี่ยนศูนย์ต้นทุนเป็นกลยุทธ์ธุรกิจ
·
หัวข้อ “บัณฑิตนักปฏิบัติสู่โลกอาชีพโลจิสติกส์”
จัดโดย เพจแวร์เฮ้าสตอรี่ เปลี่ยนศูนย์ต้นทุนเป็นกลยุทธ์ธุรกิจ
·
หัวข้อ “การประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ของสถานประกอบการในยุคการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
(
Assessment
of Industrial Logistics Performance in Digital
Transformation
Era)
” จัดโดย กองโลจิสติกส์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
·
หัวข้อ “กระแสธุรกิจ e-Commerce อิทธิพลที่ทำให้โลกต้องปรับตัว” จัดโดย สำนักโลจิสติกส์
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม
·
หัวข้อ “Logistics Academic Movement 4.0 (Toward and Beyond)” จัดโดย กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
·
หัวข้อ “การสร้างเครือข่ายด้านการค้า
การลงทุนด้วยกระบวนการด้านโลจิสติกส์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจบนเส้นทาง
EWEC เพื่อรองรับกับการเปิด AEC” จัดโดย สำนักงานพาณิชย์จังหวัดขอนแก่น
กระทรวงพาณิชย์
·
หัวข้อ “Green Supply Chain Management” จัดโดย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
·
หัวข้อ “Logistics Cost Analysis” จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว
·
หัวข้อ “Logistics link SMEs in ASEAN/สัมภาษณ์รายการโทรทัศน์เส้นทาง SMEs ไทยสู่อาเซียน/สัมภาษณ์รายการโทรทัศน์โลจิสติกส์กับธุรกิจ
SMEs จัดโดย Smart SME รายการ Innovative Talk True vision
·
หัวข้อ “ความรู้เบื้องต้นสำหรับขั้นตอนการนำเข้า-ส่งออก
(
Import
and Export knowledge for the Beginner)
/การคำนวณต้นทุนการส่งออก (Export-Import
Cost Analysis)
/เจาะลึกต้นทุนด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจร (Advance
of Logistics Cost Analysis)
บริษัท โลจิสติกส์คลินิค จำกัด
·
หัวข้อ “แนวทางการวิเคราะห์และลดต้นทุนโลจิสติกส์
แบบครบวงจร (
Logistics
Cost Analysis)
” บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ โลจิสติกส์ จำกัด (PTTPL)